วิเคราะห์คำพิพากษา

คำพิพากษาของศาลไทยมีอำนาจ (authority) และได้รับความเคารพในหมู่นักกฎหมายอย่างสูง ดังนั้น เราจึงรวบรวมแนวคำพิพากษาของศาลสูงสุดไทยไว้เพื่อให้ท่านได้ศึกษาครับ  

ดอกเบี้ยเกินอัตราที่ผู้ให้กู้รับชำระมีสถานะเป็นลาภมิควรได้ โดยหลักต้องคืนเว้นแต่จะเข้าข้อยกเว้น แต่คำวินิจฉัยของศาลฎีกาในเรื่องนี้ยังไม่ลงรอยกันนัก จึงต้องดูข้อเท็จจริงเป็นเรื่อง ๆ ไป

ผู้จัดการมรดกมีอำนาจจำหน่ายทรัพย์มรดกได้โดยไม่ต้องขอความยินยอมจากทายาท แต่ต้องเป็นการจำหน่ายเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพินัยกรรมหรือเพื่อแบ่งปันทรัพย์มรดกแก่ทายาท

ผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมหรือตามคำสั่งศาลอาจโอนทรัพย์สินให้แก่ตนเองโดยไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดกได้ถ้าผู้จัดการมรดกนั้นเป็นทายาทที่มีสิทธิรับมรดกอยู่แล้ว

กรรมการอาจเป็นลูกจ้างของบริษัทอีกฐานะหนึ่งได้นอกเหนือจากการเป็นผู้แทนของบริษัทถ้ากรรมการทำงานให้บริษัทภายใต้ระเบียบและข้อบังคับเรื่องการทำงานเช่นเดียวกับลูกจ้างอื่นทั่วไป  

แนววินิจฉัยของศาลฎีกามีอยู่ว่า แม้นิติบุคคลกระทำการนอกขอบวัตถุประสงค์ แต่หากรับเอาประโยชน์จากนิติกรรมนั้นมาแล้ว ก็ต้องรับผิดตามนิติกรรมนั้นด้วย

อายุความตามสัญญาซื้อขายมีหลากหลายประเภทขึ้นอยู่กับประเด็นที่ฟ้อง ดังนั้น เราจึงรวบรวมประเภทของอายุความตามสัญญาซื้อขายและจะซื้อขายมาไว้ให้ได้ศึกษากัน

การเซ็นชื่อในหนังสือมอบอำนาจเปล่าทั้งที่ยังไม่ได้กรอกข้อความเป็นเรื่องอันตรายกว่าที่คิด ศาลฎีกาได้วินิจฉัยประเด็นดังกล่าวไว้แล้วในคำพิพากษาหลายฉบับซึ่งอาจสรุปเป็นแนวได้ดังนี้

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้